วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน อ.เบียร์
วันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2558 วันอังคาร เวลา (08.30 – 12.20)
ความรู้ที่ได้รับ
- ฝึกร้องเพลงปฐมวัย
- ฝึกร้องเพลงปฐมวัย
การส่งเสริมทักษะต่าง ๆ ของเด็กพิเศษ
เป้าหมายเพื่อ
- ช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
- มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
- พัฒนาความกะตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
-อยาสำรวจอยากทดลอง
ช่วงความสนใจ
- จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร
- การเล่านิทานให้ฟังควรเป็นเรื่องสั้น ๆ น่าสนใจ
- เด็กฟังนิทานจบ เด็กเกิดความภาคภูมิใจทำให้เด็กอยากฟังนิทานอีก
การเลียนแบบ
- เด็กพิเศษจะเลียนแบบ เพื่อน ครู รุ่นพี่
- กรณีที่ให้เด็กไปหยิบของ ครูต้องเรียกเด็กพิเศษและเด็กปกติไปด้วยกัน
การรับรู้การเคลื่อนไหว
-เด็กรับรู้จากสัมผัสประสาททั้ง 5 จากนั้นก็ตอบสนองอย่างเหมาะสม
- การควบคุมกล้ามเนื้อ
ความจำ
- จากการสนทนา
-เมื่อเช้าหนูทานอะไรบบ้าง
-แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
- จำตัวละครในนิทาน
- จำชื่อครูและเพื่อน
- เล่นเกมทายของที่หายไป
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้่ช่วงเวลาสั้นๆ
- ให้งานเด็กแต่ละคนอย่าชัดเจน
-ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง หรือ ใช้ตัวอักษร รูปภาพ ใช้เป็นสัญลักษณ์เฉพาะตัวเด็ก
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย เพราะจะทำให้เด็กคุ้นเคยกับอุปกรณ์
- บันทึกว่าเด็กชออะไร
- พูดในทางที่ดี
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- ทำบทเรียนไม่ให้เด็กเครียด แต่สอนให้เด็กได้ผ่อนคลายสนุกสนาน
การนำไปประยุกต์
สามารถนำความรู้ที่ได้ในวิชานี้ ไปใช้ในจัดการเรียนการสอนเด็กพิเศษให้เขาสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และไม่เป็นภาระของสังคม เด็กพิเศษสามารถเรียนรู้ได้ หากสอนอย่างถูกต้องและต้องสอนย้ำๆซ้ำ จนกว่าเด็กจะทำได้ ก็จะทำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจว่าเขาสาารถทำได้เอง เหมือนกับเด็กปกติ และได้เรียนรู้เทคนิคต่าง ๆ เป็นสิ่งเล็กๆน้อยๆแต่สามารถส่งเสริมให้เขาพัฒนาได้ อาจจะช้ากว่าเด็กทั่วไป แต่ครูต้องใช้ความอดทนเป็นอย่างสูงแต่ผลที่ได้อาจทำให้เรามีความสุขที่ได้เป็นผู้ให้
การประเมินหลังการเรียนการสอน
ประเมินเพื่อน: วันนี้เพื่อนคุยกันบ้างเล็กน้อยแต่ก็ตั้งใจฟังในสิ่งที่ครูสอน
ประเมินตนเอง : วันนี้เข้าเรียนตรงแต่เวลา และตั้งใจเรียน
ประเินอาจารย์: อาจารย์ยกตัวอย่างให้ดูทำให้เห็นภาพได้ัดเจน และบอกแนวทางในการสอนเด็กจากประสบการณ์ของอาจารย์และสอนย้ำถ้าเด็กสงสัยจนกว่าจะเข้าใจ
เป้าหมายเพื่อ
- ช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
- มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
- พัฒนาความกะตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
-อยาสำรวจอยากทดลอง
ช่วงความสนใจ
- จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร
- การเล่านิทานให้ฟังควรเป็นเรื่องสั้น ๆ น่าสนใจ
- เด็กฟังนิทานจบ เด็กเกิดความภาคภูมิใจทำให้เด็กอยากฟังนิทานอีก
การเลียนแบบ
- เด็กพิเศษจะเลียนแบบ เพื่อน ครู รุ่นพี่
- กรณีที่ให้เด็กไปหยิบของ ครูต้องเรียกเด็กพิเศษและเด็กปกติไปด้วยกัน
การรับรู้การเคลื่อนไหว
-เด็กรับรู้จากสัมผัสประสาททั้ง 5 จากนั้นก็ตอบสนองอย่างเหมาะสม
- การควบคุมกล้ามเนื้อ
ความจำ
- จากการสนทนา
-เมื่อเช้าหนูทานอะไรบบ้าง
-แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
- จำตัวละครในนิทาน
- จำชื่อครูและเพื่อน
- เล่นเกมทายของที่หายไป
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้่ช่วงเวลาสั้นๆ
- ให้งานเด็กแต่ละคนอย่าชัดเจน
-ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง หรือ ใช้ตัวอักษร รูปภาพ ใช้เป็นสัญลักษณ์เฉพาะตัวเด็ก
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย เพราะจะทำให้เด็กคุ้นเคยกับอุปกรณ์
- บันทึกว่าเด็กชออะไร
- พูดในทางที่ดี
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- ทำบทเรียนไม่ให้เด็กเครียด แต่สอนให้เด็กได้ผ่อนคลายสนุกสนาน
การนำไปประยุกต์
สามารถนำความรู้ที่ได้ในวิชานี้ ไปใช้ในจัดการเรียนการสอนเด็กพิเศษให้เขาสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และไม่เป็นภาระของสังคม เด็กพิเศษสามารถเรียนรู้ได้ หากสอนอย่างถูกต้องและต้องสอนย้ำๆซ้ำ จนกว่าเด็กจะทำได้ ก็จะทำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจว่าเขาสาารถทำได้เอง เหมือนกับเด็กปกติ และได้เรียนรู้เทคนิคต่าง ๆ เป็นสิ่งเล็กๆน้อยๆแต่สามารถส่งเสริมให้เขาพัฒนาได้ อาจจะช้ากว่าเด็กทั่วไป แต่ครูต้องใช้ความอดทนเป็นอย่างสูงแต่ผลที่ได้อาจทำให้เรามีความสุขที่ได้เป็นผู้ให้
การประเมินหลังการเรียนการสอน
ประเมินเพื่อน: วันนี้เพื่อนคุยกันบ้างเล็กน้อยแต่ก็ตั้งใจฟังในสิ่งที่ครูสอน
ประเมินตนเอง : วันนี้เข้าเรียนตรงแต่เวลา และตั้งใจเรียน
ประเินอาจารย์: อาจารย์ยกตัวอย่างให้ดูทำให้เห็นภาพได้ัดเจน และบอกแนวทางในการสอนเด็กจากประสบการณ์ของอาจารย์และสอนย้ำถ้าเด็กสงสัยจนกว่าจะเข้าใจ