การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
มนสิชา ศิลปสิทธิ์ เลขที่ 1 กลุ่ม 105 วันอังคาร เวลา 08 : 30 - 12 : 20 EAED3214
วันอาทิตย์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์
อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
อ.เบียร์
บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
กลุ่มเรียน
105
วันที่ 28 เมษายน
พ.ศ.
2558
วันอังคาร เวลา
(08.30 – 12.20)
วันนี้เป็นการเรียนการสอนสัปดาห์สุดท้ายของภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
- วันนี้สอบร้องเพลงเด็กปฐมวัย โดยการสุ่มจับฉลาก จาก 20 เพลง สุ่มมา 1 เพลง จากนั้นให้ร้อง
- แจกของรางวัลเด็กดี ที่มีจำนวนดาวเด็กดีมากที่สุดจำนวน 3 รางวัล
ดิฉันได้ลำดับที่ 3
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์
อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
อ.เบียร์
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
กลุ่มเรียน
105
วันที่ 21 เมษายน
พ.ศ.
2558
วันอังคาร เวลา
(08.30 – 12.20)
ความรู้ที่ได้รับ
ก่อนเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ให้ทำกิจกรรมคลายเครียดก่อนเข้าเรียน
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล( Individualized Education Program)
แผน IEP
- แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเขา ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ
การเขียนแผน IEP
- คัดแยกเด็กพิเศษก่อนจากนั้นครูต้องรู้ก่อนว่าเด็กมีความบกพร่องด้านใดและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะเพราะจะทำให้ทราบว่าจะต้องช่วยเหลือเด็กในทักษะใดบ้าง
IEP ประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวเด็ก
- ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษด้านใด
- การระบุความสามารถของเด็กในปัจจุบัน
- เป้าหมายระยะยาว / เป้าหายระยะสั้น
- ระุบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน
- วิธีการประเมินผล
ประโยชน์ต่อเด็ก
- ได้เรียนรู้ตามความสารถของตน ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตนเอง และได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ประโยชน์ต่อครู
- เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสารถและความต้องการของเด็ก เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีสอนให้เหมาะกับเด็ก
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
- ได้ีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ และทราบร่วมกัครู่าจะฝึกลูกของตนได้อย่างไร
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
1.การรวบรวมข้อมูล
- รายงานทางการแพทย์
- รายงานการประเมินด้านต่างๆ
2. การจัดทำแผน
- ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดจุดมุ่งหายระยะยาวและระยะสั้น
- กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
กำหนดจุดมุ่งหมาย
- ระยะยาว
- ระยะสั้น
จุดมุ่งหมายระยะยาว
- กำหนดให้ชัดเจนแม้จะกว้าง
- น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
- น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
- ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
- เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2 - 3 วัน หรือ 2 - 3 สัปดาห์
- จะสอนใคร
- พฤติกรรมอะไร
- เมื่อไร่ ที่ไหน
- พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
ตัวอย่าง
- ใคร อรุณ
- อะไร กระโดดขาเดียวได้
- เมื่อไหร่/ที่ไหน กิจกรรมกลางแจ้ง
- ดีขนาดไหน กระโดดได้ขาละ 5 ครั้ง ในเวลา 30 วินาที
3 การใช้แผน
- เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใ้ช้แผนระยะสั้นและนำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
4.การประเมินผล
- โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
- ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์การวัดผล
การจัดทำ IEP
1.การรวบรวมข้อมูล
2. การจัดทำแผน
3.การใช้แผน
4.การประเมิน
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำแผนการเรียนการสอน IEP ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ในอนาคต จะได้
พัฒนาเด็กให้ครบทั้ง 4 ด้านและถูกทักษะตรงตามความต้องการของเด็ก
การประเมิน
ประเมินตนเพื่อน :
เพื่อนเข้าเรียนตรงต่อเลาแต่งกายถูกระเบียบวางรองเท้าเป็นระเบียบเพื่อนตั้งใจเรียนและตั้งใจทำแผน IEP และส่งตรงต่อเวลา
ประเมินตนเอง :
เตรียมอุปกรณ์การเรียนการสอนมาครบ เข้าเรียนตรงต่อเวลา
และตั้งใจทำแผนกลุ่ม
ประเมินอาจารย์ :
วันนี้เนื้อหาเยอะเวลามีน้อย อาจารย์เลยพูดคราวๆ แต่จะเน้นเรื่อง แผน IEP อาจารย์
อธิบายเข้าใจและัชัดเจน เดินไปทุกกลุ่มเพื่อให้คำแนะนำ
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์
อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
อ.เบียร์
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
กลุ่มเรียน
105
วันที่ 14 เมษายน
พ.ศ.
2558
วันอังคาร เวลา
(08.30 – 12.20)
บทความที่ใหม่กว่า
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)